บทความหมวด กริยา 3 ช่อง
จำนวน 7บทความ
กริยา 3 ช่อง+1
Post on 16 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง ท่องเลย!
มีคำถามมาหลายครั้งจากหลายๆ คนว่า "มีเทคนิคจดจำกริยา 3 ช่องกันยังไงบ้าง ขอแบบที่ได้ผลระยะยาวและแม่นยำ" เลยจะมาแบ่งปันเทคนิคให้จดจำไปใช้งานได้ตามนี้เลย ตั้งใจนะ! วิธีที่ได้ผลในระยะยาวคือเอาไปใช้ / ระลึกถึงอยู่บ่อย ซึ่งหลักการก็ง่ายๆ ให้จำคำกริยาที่เปลี่ยนรูปให้ได้ นอกเหนือจากนั้นก็เป็นคำกริยาที่เติม -ed หมดเท่านั้นเอง
กริยา 3 ช่อง
Post on 13 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง ที่ใช้บ่อยเรียงตามลำดับ Top 10 คำ และ Top 50 คำ
กริยา 3 ช่องมี 2 แบบอย่างที่เรารู้กัน ถ้าใครกำลังหาคำที่ใช้บ่อยเรียงตามลำดับ Top 10 คำ, Top 50 คำ ไปดูกันได้ ตามประเภทของคำกริยา 3 ช่อง ดังนี้เลย
กริยา 3 ช่อง+1
Post on 13 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง ภาษาอังกฤษ เรียกว่าอะไร
มีคำถามเหมือนกับหลาย ๆ คน ที่อยากจะรู้ว่าจริง ๆ แล้วที่เราเรียกกันว่ากริยา 3 ช่องนั้น ในภาษาอังกฤษเขาเรียกว่าอะไร มา! เรามาดูกันเลยดีกว่า ว่ากริยา 3 ช่องนั้น ภาษาอังกฤษเรียกว่าอะไรกันแน่
กริยา 3 ช่อง+1
Post on 13 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง ฉบับเต็ม! ครบทุกหมวดตัวอักษร A-Z
ถ้าพูดถึงคำกริยา 3 ช่องภาษาอังกฤษ เราก็จะนึกไปถึง คำศัพท์ที่เปลี่ยนรูปเป็น 3 แบบ โดยที่มีความหมายเดียวกัน และใช้ต่าง tense กัน ซึ่งถ้าเป็นแบบนี้ ในภาษาอังกฤษ จะเรียกว่า Irregular Verb แปลว่า กริยาผันไม่ปกติ หรือเปลี่ยนรูปไม่ตรงไปตรงมา ไม่เป็นไปตามกฏการเติม ed นั่นแหละ
กริยา 3 ช่อง+3
Post on 27 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง ภาษาอังกฤษ + ไฟล์ pdf ไฟล์ doc
กริยา 3 ช่อง หรือ กริยาสามช่อง ภาษาอังกฤษ เป็นการผันออกเป็น 3 ช่อง ตาม Tense (กาล) เราได้รวบรวมพร้อมคำแปล และแสดงเป็นตารางให้แล้ว
กริยา 3 ช่อง+1
Post on 17 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง 500 คำที่ใช้บ่อย พร้อมคำแปล - หมวด Regular Verbs
Regular Verbs คือ กิริยา 3 ช่อง ที่มีการเปลี่ยนรูปของคำศัพท์ โดยการเติม -ed เข้าไปข้างหลังคำศัพท์ช่องที่ 1 แล้วได้เป็นคำศัพท์ช่องที่ 2 และ 3 ทันที แล้วมีหลักเกณฑ์อะไรบ้างหล่ะ แล้วมีคำไหนบ้าง ไปดูกันเลย กริยาสามช่องก็ว่า
กริยา 3 ช่อง+1
Post on 13 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง 300 คำที่ใช้บ่อย พร้อมคำแปล - หมวด Irregular Verbs
Irregular Verbs คือ กิริยา 3 ช่อง ที่มีรูปของทั้ง 3 ช่องกริยาแตกต่างกันหรือเหมือนกันไม่ใช่แค่เติม -ed เข้าไป โดยสามารถเป็นได้ทั้งเหมือนกันทั้ง 3 ช่อง หรือแตกต่างกันทั้ง 3 ช่องหรือช่องที่ 2 และช่องที่ 3 ที่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับคำศัพท์กริยานั้น ๆ เลย แล้วทำไงเราถึงจะรู้ล่ะ ตอบได้ง่าย ๆ ครับคือจำ ท่องจำและนำไปใช้จนชินเดี๋ยวจะระลึกได้เอง