บทความหมวด Grammar
จำนวน 31บทความ
Grammar+2
Post on 13 / 03 / 22
Quantifiers คำบอกปริมาณ
การบอกจำนวนหรือปริมาณของสิ่งของ คน สัตว์ หรือคำนามใดๆ ก็ตาม ถ้าเรารู้จำนวนแน่นอน 1, 2, 3, 4 หรือ 5 เราก็บกอด้วยตัวเลขตามด้วยหน่วยได้เลย เช่น ผุ้หญิง 5 คน, น้ำมัน 3 ลิตร, ห้อง 10 ห้อง เป็นต้น แต่ถ้าหากไม่รู้จำนวนที่แน่นอน นับลำบาก หรือจะบอกปริมาณของคำนามนับไม่ได้ทั้งหลาย ในภาษาไทยเรานั้นมักจะใช้คำจำพวกนี้เข้ามาช่วยในการบอกปริมาณที่ไม่พอดี เช่น มีน้ำอยู่บ้าง, คนจำนวนมาก, เหลืออยู่นิดหน่อย
Grammar+2
Post on 17 / 03 / 22
American VS British English ความแตกต่างระหว่างภาษาอังกฤษแบบอเมริกาและแบบเมืองผู้ดี
ภาษาอังกฤษที่ใช้กันทั่วโลก ซึ่งมีอยู่หลากหลายแบบหลากหลายสำเนียงขึ้นอยู่กับแต่ละพื้นที่ แต่ที่คนไทยส่วนใหญ่รู้จักและคุ้นเคยกันดีก็จะเป็น British English และ American English ที่เป็นที่ยอมรับและใช้แพร่หลายมากที่สุด แน่นอนว่ามันย่อมต้องมีความแตกต่างกันอยู่แล้ว ความแตกต่างระหว่าง British English กับ American English มีหลายด้านดังนี้
Grammar+2
Post on 13 / 03 / 22
Word-formations: Prefix, Suffix & Root : โครงสร้างของคำศัพท์ภาษาอังกฤษ
เราได้รู้แล้วว่าในประโยค วลี หรือคำ หนึ่งนั้นๆ อาจจะประกอบไปด้วยส่วนของคำศัพท์หลายส่วนได้ เดี๋ยววันนี้เรามาดูกันว่า การเติมคำข้างหน้า หรือ ข้างหลัง คำศัพท์หลัก ก็สามารถทำให้เกิดเป็นคำศัพท์ใหม่ได้ ไปดูกันเลย
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
Sentences - ประโยค ภาษาอังกฤษ
เมื่อเราเรียนพื้นฐานของไวยากรณ์ภาษาอังกฤษมาได้สักพักแล้ว ก็ได้มาถึงจุดที่สำคัญจุดหนึ่ง เพื่อให้การแปลภาษาและสื่อสารเป็นภาษาอังกฤษได้ถูกต้อง ฝ่ายผู้รับสารจากเราต้องได้ความหมายที่ถูกต้องนั้นขึ้นอยู่กับประโยคที่เราสื่อสาร ทีนี้เรามาดู มาทำความเข้าใจกับหลักการเรื่องประโยคภาษาอังกฤษกันเลย
Grammar+3
Post on 27 / 03 / 22
กริยา 3 ช่อง ภาษาอังกฤษ + ไฟล์ pdf ไฟล์ doc
กริยา 3 ช่อง หรือ กริยาสามช่อง ภาษาอังกฤษ เป็นการผันออกเป็น 3 ช่อง ตาม Tense (กาล) เราได้รวบรวมพร้อมคำแปล และแสดงเป็นตารางให้แล้ว
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
การถ่ายทอดคำพูดของผู้อื่น (Reported Speech)
Reported Speech คือ วิธีการที่เราจะนำเอาคำพูดของใครคนหนึ่งไปเล่าต่อให้คนอื่นฟัง เพื่อให้ผู้ฟังเข้าใจถึงเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นกับเจ้าของเรื่อง
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
ประธานเป็นผู้กระทำกริยาและเป็นผู้ถูกกระทำ
หลาย ๆ ครั้งเราก็สงสัยว่าประโยคหนึ่งๆ อะไรเป็นประธาน อะไรเป็นกรรม ซึ่งโดยปกติแล้วในประโยคก็จะมีการเรียง ประธาน + กริยา + กรรม คือ ประธานกระทำต่อกรรม กลับกันรูปแบบประโยคอีกแบบหนึ่งคือ ประธานของประโยคถูกกระทำ กรรมใดที่มีคือประธานของประโยคนั่นเอง แล้วอะไรคือข้อแตกต่าง หรือมีเงื่อนไขอะไรบ้าง ไปดูกันเลย
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา
ความสอดคล้องระหว่างประธานและกริยา ภาษาอังกฤษเรียกว่า Subject – Verb Agreements มีความสอดคล้องของโครงสร้างให้จำดังนี้
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
อนุประโยค
Relative clause คือ อนุประโยคที่ทำหน้าที่เหมือนกับ Adjective นั่นคือขยายคำนามที่อยู่ข้างหน้า
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
เครื่องหมายวรรคตอน
Punctuation หรือ เครื่องหมายวรรคตอน เราก็พอรู้กันคร่าวๆว่าเครื่องหมายเหล่านี้มี หน้าที่เพื่อให้การแบ่งวรรคตอนหรือประโยคในภาษาอังกฤษไม่ให้สับสน
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
กริยาช่วย
Modal Verbs คือ กริยาช่วย ที่มีความพิเศษตรงนี้มีความหมายในตัวมันเอง (ปกติกริยาช่วยมีหน้าที่ทำให้ประโยคสมบูรณ์แต่ไม่มีความหมาย)
Grammar+1
Post on 13 / 03 / 22
ประโยคเงื่อนไข
Conditional Sentences คือประโยคแสดงเงื่อนไขสมมติเหตุการณ์ ถ้ามีเหตุการณ์หนึ่งเกิดขึ้นแล้ว (Condition) ก็จะมีอีกเหตุการณ์หนึ่งขึ้นตามมา (Result) โดยมี if เป็นตัวเชื่อมประโยคสองประโยคนั้นเข้าด้วยกัน